กองทุนธนชาต 2567 เปิดวิธีซื้อขายกองทุนและรับเงินปันผลประจำปี 2567/2024

กองทุนธนชาต ลงทุนกองทุนรวมตัวไหนดี ความแตกต่างของ SSF & RMF

อีกหนึ่งรูปแบบจากกองทุนธนชาต ใครจะมีการซื้อขายกองทุนแต่ยังไม่เข้าใจ ควรลงทุนกองทุนรวมอย่างไร ดูกันเลย 

 

กองทุนธนชาตลงทุนกองทุนรวมตัวไหนดี

กองทุนธนชาตมีรูปแบบการซื้อกองทุนที่หลากหลาย โดยคำว่าซื้อขายกองทุนเป็นการลงทุนกองทุนรวม ก็จะมีสัดส่วนการลงทันจากบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนธนชาตเป็นผู้จัดสรรขึ้นมาไม่เหมือนกันในแต่ละกองทุน ดังนั้น จึงไม่มีลงทุนกองทุนรวมที่สามารถบอกได้ว่าซื้อกองทุนไหนดีที่สุด เพราะจะต้องมีการทำแบบประเมินในเรื่องความเสี่ยงในการซื้อกองทุนว่าพร้อมรับความเสี่ยงแค่ไหน ต้องการเงินปันผลหรือไม่ และกองทุนรวมธนชาตแบบไหนที่เหมาะกับเรามากที่สุด การทำแบบประเมินจะช่วยพิจารณาได้ว่าเรามีคุณสมบัติที่เหมาะกับซื้อกองทุนไหนดีที่สุด เป็นทางเลือก เช่น พนักงานบริษัทที่มีโอกาสซื้อรูปแบบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพธนชาต

ทั้งนี้ ควรมีการกระจายความเสี่ยงในการลงทุนกับกองทุนธนชาต ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการลดหย่อนภาษี และผลประโยชน์ต่าง ๆ และสิ่งที่สำคัญที่สุดก่อนจะมีการซื้อ ควรอ่านหนังสือชี้ชวนของแต่ละการลงทุนกองทุนรวมก่อนตัดสินใจ ดูปันผล ความเสี่ยง เงินของเราไปลงส่วนไหน เป็นต้น 

 

กองทุนธนชาตเปิดบัญชีกองทุน

การเปิดบัญชีกองทุนของกองทุนธนชาตจะต้องเตรียมเอกสารให้พร้อมเพื่อเป็นสมาชิกของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนธนชาต เพื่อให้สามารถซื้อขายกองทุน สับเปลี่ยนกองทุน ขายคืนหน่วยลงทุนได้ด้วยเช่นกัน 

กรณีของบุคคลธรรมดาที่ต้องการเปิดบัญชีกองทุนจะต้องเตรียมสำเนาบัตรประชาชน และใช้สำเนาเอกสารหน้าแรกของบัญชีออมทรัพย์ของธนาคารธนชาต ซึ่งจะต้องเป็นชื่อตรงกัน เป็นบุคคลคนเดียวกันเท่านั้น ที่ดำเนินการลงทุนกองทุนรวมนี้ได้ 

 

กองทุนธนชาต ความแตกต่างของ SSF & RMF 

  • กองทุนรวมธนชาต SSF 
      • กองทุนธนชาตที่สามารถใช้ลดหย่อนภาษีได้ โดยจะสามารถยื่นได้เท่ามีในส่วนที่ได้มีการซื้อกองทุนในกลุ่มนี้ ไม่เกิน 2 แสนบาทต่อปี 
      • รูปแบบของเงินจากลงทุนกองทุนรวมนี้ไม่สามารถโอนได้ ไม่สามารถใช้เป็นหลักทรัพย์มาค้ำประกันได้ด้วยเช่นกัน 
      • ลงทุนกองทุนรวมมีทั้งรูปแบบที่จ่ายเงินปันผลและไม่มีเงินปันผลด้วยเช่นกัน 
      • ไม่จำเป็นต้องมีการซื้อกองทุนต่อเนื่อง
  • กองทุนรวมธนชาต RMF 
    • กองทุนธนชาตที่สามารถใช้ลดหย่อนภาษีได้ไม่เกิน 5 แสนบาทต่อปี
    • การซื้อกองทุนจะต้องถือครอง 5 ปี และขายได้เออายุไม่ต่ำกว่า 55 ปี 
    • ซื้อขายกองทุนไม่มีช่วงสิ้นสุดการลงทุน สามารถลงทุนได้ต่อเนื่องเรื่อย ๆ ระยะยาว 
    • ต้องมีการซื้อกองทุนต่อเนื่อง เช่น ปีเว้นปี หรือปีละครั้ง